กระบวนการและเทคนิคการทำงานพัฒนาแนวใหม่

ถอดบทเรียนการพัฒนาชุมชน “สิ่งสำคัญของการพัฒนาชุมชน ทำงานร่วมกัน ให้ชุมชนเป็นพระเอกเสมอ”

ถอดบทเรียนการพัฒนาชุมชน “สิ่งสำคัญของการพัฒนาชุมชน ทำงานร่วมกัน ให้ชุมชนเป็นพระเอกเสมอ” แผนปฏิบัติการพัฒนาชุมชน ต้องเป็นปัญหาร่วม ที่ส่งผลกระทบต่อชุมชน ไม่ใช่คนใดคนหนึ่ง การออกแบบกิจกรรมเราจะทำแผนปฏิบัติการร่วมกับชุมชน ชวนเขาวิเคราะห์ปัญหา หรือสิ่งที่อยากพัฒนาเพิ่มเติม หลังจากที่ออกแบบเสร็จเราก็จะมีการพูดคุยหารือกัน นอกจากนี้แผนปฏิบัติการร่วม แผนปฏิบัติการรายชุมชน การวิเคราะห์ปัญหา จะต้องคิดถึงปัญหาร่วมทั้งชุมชน และวิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆ รวมถึงทรัพยากรที่มีในชุมชน โดยไม่ใช่ความต้องการใครคนใดคหนึ่ง นักพัฒนาจะต้องช่วยวางแผนให้ชุมชนเติบโตได้ในระยะยาว สร้างภาคีเครือข่ายให้ชุมชนไปต่อได้ในวันที่ไม่มีเรา เวลาลงชุมชนแต่ละครั้งจะต้องมีเป้าหมาย ร่วมกันวางแผน เก็บข้อมูล หาแนวทางการทำงานต่อ รวมไปถึงการเชื่อมโยงหน่วยงานต่าง ๆ ที่จะเข้ามาร่วมในระยะยาว และจะเป็นเพื่อนร่วมทางในการทำงาน โดยทีมจะมองอยู่ 3 ระดับ 1. ชุมชนให้แข็งตัวระดับหนึ่งก่อนเราจะไม่เชิญหน่วยงานแบบเต็มร้อย 2. สร้างกลไกชุมชนข้ามหมู่บ้านให้เป็นเพื่อนกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 3. เมื่อชุมชนดำเนินการได้เองจึงชวนหน่วยงานอื่นเข้ามาร่วม จริง ๆ แล้วหน่วยงานมีภารกิจของงานตัวเองอยู่แล้ว ดังนั้นเราจะต้องดูภารกิจและบทบาทของหน่วยงานเป็นหลัก เช่น หน่วยงานท้องถิ่นจะดูในเชิงนโยบายและงบประมาณ ถ้าในแผนมีและตรงกันสามารถดันกันได้ก็เชิญชวนมาทำร่วมกัน ใช้เครื่องมือที่เรียกว่าการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Interactive Learning through Action) หรือ PILA การดึงคนหลายกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วม…

Read more

“CEIS โมเดล” โมเดลออกแบบโครงการพัฒนาชุมชน ให้เกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพ

“CEIS โมเดล” โมเดลออกแบบโครงการพัฒนาชุมชน ให้เกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพ หากเราจะสังเคราะห์ความรู้ใด ๆ ก็ตามที่เกิดจากการทำงาน ขอให้นึกภาพกระบวนการ ขั้นตอนเหล่านี้ให้ออก มององค์ประกอบ และเชื่อมโยงกัน ก็จะช่วยให้เราสามารถสังเคราะห์องค์ความรู้ออกมาเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์การพัฒนาได้ไม่ว่าจะในรูปแบบใดก็ตาม โมเดลเหล่านี้เกิดจากการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ซึ่ง Action Research คือการสร้างความรู้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ต่อการทำงาน และความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นนี้ ไม่ใช่ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการอ่านหนังสือเพียงอย่างเดียว แต่เป็นความรู้ที่เกิดจากการกระทำ ทำแล้วเกิดเป็นบทเรียน แต่การจะลงมือทำนั้น จะไปทำเลยก็คงไม่ได้ คนที่ทำอะไรโดยที่ไม่คิด ไม่วางแผน ก็จะมีโอกาสใช้ทรัพยากรสิ้นเปลือง รวมถึงใช้เวลาสิ้นเปลืองมาก ดังนั้นการออกแบบโครงการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงาน เจ้าหน้าที่โครงการ จะเป็นสเกลเล็ก หรือใหญ่ ก็สามารถนำโมเดลนี้ไปใช้ได้ ซึ่งในแต่ละสเกลก็จะให้ผลที่แตกต่างกัน ดังนั้นก่อนที่จะเริ่มทำโครงการใด ๆ ก็ตาม ควรมีขั้นตอนดังนี้ “ออกแบบ” หมายถึง เราต้องจินตนาการเป้าหมายก่อน เป้าหมายตรงนี้อาจจะเรียกว่า ผลลัพธ์ หรือ ทฤษฎีใหม่ ความรู้ใหม่ก็ได้ ซึ่งในการออกแบบนี้ ก็ต้องวางแผน วิเคราะห์ ให้รอบด้าน ดังนี้ พัฒนารูปแบบ…

Read more

“พลังชุมชนและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน” ถอดแนวคิด หลักการ และเครื่องมือทำงาน ลูกธนูแห่งความสำเร็จ ที่พุ่งเป้าไปสู่ความยั่งยืนของชุมชน

“พลังชุมชนและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน” ถอดแนวคิด หลักการ และเครื่องมือทำงาน ลูกธนูแห่งความสำเร็จ ที่พุ่งเป้าไปสู่ความยั่งยืนของชุมชน โครงการพลังชุมชนและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน หรือ CEIS ในทุกพื้นที่การทำงานล้วนมีเป้าหมายปลายทางสุดท้ายที่พวกเราอยากเห็นนั่นคือ “ความยั่งยืนของชุมชน” ซึ่งการจะนำพาชุมชนให้ไปได้ถึงฝั่งฝันนี้ได้นั้น การติดอาวุธให้กับชุมชนเพื่อให้ชุมชนฝ่าวิกฤติการเปลี่ยนแปลงทางสังคมนับเป็นส่วนสำคัญ อาวุธดังกล่าวอาจเปรียบได้กับลูกธนูที่มุ่งสู่เป้าหมายที่พวกเราตั้งเอาไว้ แนวทางการดำเนินโครงการของ CEIS จึงประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่ ส่วนที่ 1 ฐานทุนชุมชน และปัจจัยผันแปรที่เกิดขึ้นในชุมชน ซึ่งเป็นส่วนที่เราต้องนำมานั่งคิดวิเคราะห์เพื่อให้มองเห็นปัญหาอย่างรอบด้าน ทั้งในส่วนของชุมชนและความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในยุคปัจจุบัน ส่วนที่ 2 แนวคิดและหลักการทำงาน ที่เปรียบเสมือนอุดมการณ์ หลักการ ที่พวกเรา CEIS ยึดถือเป็นหลักปฎิบัติที่เจ้าหน้าที่ทุกคนจะต้องนำไปให้อย่างแม่นยำ และ ส่วนที่ 3 กลุ่มเครื่องมือ เปรียบเสมือยุทโธปกรณ์ที่เรานำมาใช้ในการยิงธนู เพื่อให้ลูกธนูนี้ (ชุมชน) พุ่งไปสู่เป้าหมายได้สำเร็จ หากจะอธิบายหลักคิด…

Read more

ถอดบทเรียนการพัฒนาชุมชน “สิ่งสำคัญของการพัฒนาชุมชน ทำงานร่วมกัน ให้ชุมชนเป็นพระเอกเสมอ”

ถอดบทเรียนการพัฒนาชุมชน “สิ่งสำคัญของการพัฒนาชุมชน ทำงานร่วมกัน ให้ชุมชนเป็นพระเอกเสมอ” แผนปฏิบัติการพัฒนาชุมชน ต้องเป็นปัญหาร่วม ที่ส่งผลกระทบต่อชุมชน ไม่ใช่คนใดคนหนึ่ง การออกแบบกิจกรรมเราจะทำแผนปฏิบัติการร่วมกับชุมชน ชวนเขาวิเคราะห์ปัญหา หรือสิ่งที่อยากพัฒนาเพิ่มเติม หลังจากที่ออกแบบเสร็จเราก็จะมีการพูดคุยหารือกัน นอกจากนี้แผนปฏิบัติการร่วม แผนปฏิบัติการรายชุมชน การวิเคราะห์ปัญหา จะต้องคิดถึงปัญหาร่วมทั้งชุมชน และวิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆ รวมถึงทรัพยากรที่มีในชุมชน โดยไม่ใช่ความต้องการใครคนใดคหนึ่ง นักพัฒนาจะต้องช่วยวางแผนให้ชุมชนเติบโตได้ในระยะยาว สร้างภาคีเครือข่ายให้ชุมชนไปต่อได้ในวันที่ไม่มีเรา เวลาลงชุมชนแต่ละครั้งจะต้องมีเป้าหมาย ร่วมกันวางแผน เก็บข้อมูล หาแนวทางการทำงานต่อ รวมไปถึงการเชื่อมโยงหน่วยงานต่าง ๆ ที่จะเข้ามาร่วมในระยะยาว และจะเป็นเพื่อนร่วมทางในการทำงาน โดยทีมจะมองอยู่ 3 ระดับ 1. ชุมชนให้แข็งตัวระดับหนึ่งก่อนเราจะไม่เชิญหน่วยงานแบบเต็มร้อย 2. สร้างกลไกชุมชนข้ามหมู่บ้านให้เป็นเพื่อนกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 3. เมื่อชุมชนดำเนินการได้เองจึงชวนหน่วยงานอื่นเข้ามาร่วม จริง ๆ แล้วหน่วยงานมีภารกิจของงานตัวเองอยู่แล้ว ดังนั้นเราจะต้องดูภารกิจและบทบาทของหน่วยงานเป็นหลัก เช่น หน่วยงานท้องถิ่นจะดูในเชิงนโยบายและงบประมาณ ถ้าในแผนมีและตรงกันสามารถดันกันได้ก็เชิญชวนมาทำร่วมกัน ใช้เครื่องมือที่เรียกว่าการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Interactive Learning through Action) หรือ PILA การดึงคนหลายกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วม…

Read more

ถอดบทเรียนการทำงานพัฒนาชุมชน “กระบวนการแก้ไขปัญหาเชิงนวัตกรรม ที่ตอบโจทย์ชุมชน”

ถอดบทเรียนการทำงานพัฒนาชุมชน “กระบวนการแก้ไขปัญหาเชิงนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ชุมชน” การนำนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีมาประยุต์ใช้ในชุมชน เราจะต้องหาปัญหาจากชุมชนก่อน ลงไปเก็บข้อมูลด้วยตนเองและขอข้อมูลจากชุมชน หรือทีมงานในพื้นที่ การนำนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีมาประยุต์ใช้ในชุมชน เราจะต้องหาปัญหาจากชุมชนก่อน ลงไปเก็บข้อมูลด้วยตนเองและขอข้อมูลจากชุมชน หรือทีมงานในพื้นที่ เพื่อที่จะต้องรู้ว่าปัญหาเกิดจากอะไร หลังจากที่รู้ว่ามีปัญหาอะไรเกิดขึ้นแล้ว จากนั้นจึงเข้าสู่ขั้นตอนการหาข้อมูลการแก้ปัญหา ไม่ว่าจะจากงานวิจัยต่าง ๆ หรือการเข้าปรึกษากับเชี่ยวชาญที่เรามีอยู่ โดยเราต้องมีชุดคำตอบระดับนึงเพื่อเข้าไปหาข้อสรุป ปัญหา สาเหตุ และวิธีการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ซึ่งในแต่ละพื้นที่ แต่ละชุมชน ก็จะมีปัญหาที่เกิดขึ้น ทำให้การออกแบบจะแตกต่างกันออกไป สิ่งสำคัญของกระบวนการแก้ไขปัญหาเชิงนวัตกรรมนั้น ทุกกระบวนการจะต้องผ่านการมีส่วนร่วมของชุมชน ไม่ทิ้งชุมชนชวนทำ มีการคุยที่ชัดเจน มีการติดตามงานตลอด ไม่มีการโยนงาน ทำให้ชุมชนสนุก การแก้ไขปัญหาด้วยนวัตกรรม ต้องอธิบายกับชุมชนว่ามาเก็บข้อมูลเพื่อแก้ปัญหาอะไร โดยอธิบายและแสดงตัวอย่าง เพื่อให้ชุมชนเข้าใจ หรือการแปลกเปลี่ยนคำถาม ออกแบบร่วมกัน โดยทุกกระบวนการจะต้องผ่านการมีส่วนร่วมของชุมชน พูดให้ชุมชนเชื่อมั่นในนวัตกรรมที่จะทำการทดลอง โดยยืนยันด้วยข้อมูลที่ค้นหามาแล้ว หรือมีการทดสอบทดลองมาแล้ว และอธิบายด้วยว่าผลคืออะไร ทดลองที่ไหน อธิบายให้เห็นภาพ แต่จะไม่เสมอไป เพราะบางพื้นที่จะมีข้อจำกัดในบางเรื่องไม่สามารถทำได้ และสิ่งสำคัญในกระบวนการแก้ไขปัญหาเชิงนวัตกรรมนั้นคือ เราไม่ทิ้งชุมชน ชวนทำ มีการคุยที่ชัดเจน มีการติดตามงานตลอด ไม่มีการโยนงาน…

Read more

ถอดบทเรียนการทำงานพัฒนาชุมชน “การสร้างภาคีเครือข่ายในพื้นที่”

ถอดบทเรียนการทำงานพัฒนาชุมชน “การสร้างภาคีเครือข่ายในพื้นที่” โครงการพลังชุมชนและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน CEIS ในพื้นที่ภาคใต้ (จังหวัดสตูล และจังหวัดสงขลา) สิ่งที่ขาดไม่ได้เลยในการดำเนินงานพัฒนาในพื้นที่ คือ “การสร้างภาคีความร่วมมือแบบหุ้นส่วน” เพื่อส่งเสริมกระบวนการทำงานพัฒนาที่ยั่งยืนให้แก่ชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย และหน่วยงานตามภูมิภาคที่เกี่ยวข้อง ซึ่งในช่วงเริ่มต้นก็ยังถือว่ามีอุปสรรค เพราะว่าหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เขาก็จะมีฟังก์ชั่น รูทีน ของเขาเองอยู่แล้ว เขาก็ไม่รู้จักเราว่าเราเป็นใคร มีฟังก์ชั่นการทำงานเป็นอย่างไร วันนี้ D community ได้ถอดประเด็นสำคัญ 5 Step จากทีมทำงานในพื้นที่ภาคใต้ ทำอย่างไรให้เขารู้จักเรา และเข้าใจการทำงานของโครงการเรา รวมถึงวิธีการออกแบบการทำงานในการเชื่อมโยงเครือข่าย สร้าง Partnership จนได้เห็นเป็นภาพผลผลิตความร่วมมือทั้งในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัด Step 1 สร้างความรู้จัก หาจุดลงตัว เห็นแนวทางการทำงานร่วมกัน ดังนั้นการที่เราสามารถดึงเขามาทำ การที่เราดึงองค์ความรู้ดั้งเดิมเรามาใช้ ทำให้เราเรียนรู้ไปกับเขา ขณะเดียวกันเขาก็มีส่วนร่วมในการพัฒนาบ้านเขาเอง ก็จะดีกว่าการที่เราเป็นคนต่างถิ่น วันดีคืนดีเราไปสั่งเขาให้ทำนู้นทำนี่ แต่วันนี้เราไปฟังเขาว่าเขาอยากทำอะไร เขาเห็นว่าเขาควรทำอะไร เรามีองค์ความรู้ไปเพิ่มเติมจากเดิมที่เขาไม่รู้ไปให้เขา มันเกิดงาน งานที่ผมพูดถึงคือเรื่องของ ธนาคารต้นกล้าป่าชายเลน ที่โรงเรียนพระพิมลเสนี ที่ชุมชนบ้านคลองหัวจากทำอยู่ กลุ่มอาชีพกลุ่มนั้นเกิดจากสิ่งเล็ก ๆ…

Read more

เรียนรู้ “หัวใจสำคัญ” คนทำงานพัฒนา ที่พาชุมชนรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง สู่พื้นที่ต้นแบบด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม

เรียนรู้ “หัวใจสำคัญ” คนทำงานพัฒนา ที่พาชุมชนรอบโรงไฟฟ้าบางปะกงสู่พื้นที่ต้นแบบด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม จุดเริ่มต้นโครงการ เราเริ่มต้นโครงการจากการพัฒนาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นคีย์เวิร์ดหลักเลยที่โรงไฟฟ้าบางปะกงให้ความสำคัญบ้านคลองหัวจาก ต.บางปะกง เป็นพื้นที่ที่เกี่ยวข้องด้านสิ่งแวดล้อม และทั้งชีวิตความเป็นอยู่ของพี่น้องประชาชนซึ่งเป็นคำตอบที่ตอบโจทย์เรื่องของแผนงานเป็นอย่างมาก ส่วนที่ที่ 2 ที่เราทำ คือ หมู่ 2 ตำบลท่าข้าม ก็สืบเนื่องเรื่องของสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ไหนก็ตามที เราจะเริ่มต้นจุดแรกคือเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นหลักใหญ่ เราในฐานะคน กฟผ. รวมทั้งพี่น้องที่มาจากธรรมศาสตร์ เรามองเห็นตรงกันว่า ชุมชนมีองค์ความรู้ดั้งเดิม อย่างกรณีบ้านคลองหัวจาก เป็นตัวอย่างหนึ่งที่เรามองว่า จริง ๆ แล้ว เขามีทรัพยากรที่มีค่ามากอยู่ในพื้นที่เขา อย่างบ้านคลองหัวจากชัดเจนมากเลยนะครับมีแผนพัฒนาฟื้นฟูป่าชายเลนในโรงเรียน ทีนี้การฟื้นฟูจะเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์แบบได้อย่างไร ก็ต้องขึ้นอยู่กับความร่วมมือของชาวบ้าน และที่สำคัญถ้าเราดึงองค์ความรู้เขาเข้ามาทำโครงการร่วมกับเราได้ ก็จะทำให้ความยั่งยืนของโครงการเกิดขึ้นแน่ ๆ ดังนั้นการที่เราสามารถดึงเขามาทำ การที่เราดึงองค์ความรู้ดั้งเดิมเรามาใช้ ทำให้เราเรียนรู้ไปกับเขา ขณะเดียวกันเขาก็มีส่วนร่วมในการพัฒนาบ้านเขาเอง ก็จะดีกว่าการที่เราเป็นคนต่างถิ่น วันดีคืนดีเราไปสั่งเขาให้ทำนู้นทำนี่ แต่วันนี้เราไปฟังเขาว่าเขาอยากทำอะไร เขาเห็นว่าเขาควรทำอะไร เรามีองค์ความรู้ไปเพิ่มเติมจากเดิมที่เขาไม่รู้ไปให้เขา มันเกิดงาน งานที่ผมพูดถึงคือเรื่องของ ธนาคารต้นกล้าป่าชายเลน ที่โรงเรียนพระพิมลเสนี ที่ชุมชนบ้านคลองหัวจากทำอยู่ กลุ่มอาชีพกลุ่มนั้นเกิดจากสิ่งเล็ก ๆ ในพื้นที่ ที่ชุมชนเองมองว่าเขามีศักยภาพ…

Read more