Stakehoder และบุคคลต้นแบบ

พิมพ์ชนก พิชัยกาล

การศึกษาชุมชนคือทุกอย่าง คน อารมณ์ ความรู้สึก ความขัดแย้ง เหมือนหาจิ๊กซอว์มาปะติปะต่อกับโครงการของเราได้ ซึ่งเป้าหมายคือ
เราจะทำอย่างไรให้เขาใจเขามากที่สุดเข้าใจในสถานการณ์นี้ที่เขาต้องเจอ เข้าใจที่ใช่ตามหลักสากลทั่วไป แต่ต้องเขาใจในมุมของเขา

Read more

ดร.ชลกานดาร์ นาคทิม

การค้นหาปัญหาในพื้นที่ นักพัฒนาจะต้องทำการศึกษาชุมชนอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
และการที่ชุมชนจะเล่าเรื่องราวภายในชุมชนให้เราฟังนั้น มันจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อเขาเขาไว้ใจ
และเชื่อใจเรา ซึ่งมันมีผลต่อการเก็บข้อมูลด้วย

Read more

สุไลดา เกปัน

การทำงานร่วมกันอย่างบูรณาการกับหน่วยงานในพื้นที่ คือ ร่วมกันเป็นเพื่อนคู่คิด มิตรคู่ใจ แสดงน้ำใจ เราในฐานะคนทำงานในพื้นที่ก็สามารถเข้าไปช่วยได้ ไม่ใช่เพียงแต่เราไปชวนเขามาร่วมเท่านั้น

Read more

สมศักดิ์ เส็นดาโอ๊ะ

การทำงานชุมชนเราต้องรู้จักวิเคราะห์ปัญหา และความต้องการของชุมชนก่อนอะไรที่มีประโยชน์ และอะไรที่จะเป็นทางออกให้กับเขา และสิ่งที่เราจะสามารถรู้ได้อย่างลึกซึ้งนั้น คือการที่เราเดินลงไปชุมชน และเราต้องมองว่าทุกคน ทุกชุมชนมีศักยภาพของตัวเอง

นอกจากนี้การบูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ก็สำคัญ หากใครมีความพร้อมก็ชวนเข้ามาร่วมกันทำงานในชุมชน และร่วมกันพัฒนาไปพร้อมๆ กันทีละก้าว ผมว่านี่คือจุดเริ่มต้นของการพัฒนาที่ยั่งยืน ถึงแม้ใครคนหนึ่งปล่อยมือไป ชุมชนก็ยังสามารถเดินต่อไปได้อยู่

Read more

สมประสงค์ ยิ่งเจริญ

ดังนั้นสิ่งสำคัญของ “นักพัฒนา” เราต้องนำความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาผสมผสานกับภูมิปัญญา หรือ วิถีชุมชนให้ได้ โดยต้องทำให้เขาไม่รู้สึกว่าเป็นภาระ หรือกระทบกับวิถีชีวิตเขาจนเกินไป หรือพูดง่ายคือเรา “ต้องพูดภาษาเดียวกันกับชาวบ้าน” นั่นเอง

Read more

รศ.ดร.ปาริชาติ วลัยเสถียร

“ทำงานให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน แต่ไม่ทำทุกอย่างที่ชุมชนต้องการ” – ปาริชาติ วลัยเสถียร “ครูนักพัฒนา”

Read more